1.
จงยกตัวอย่างระบบสารสนเทศที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจำวันมาอย่างน้อย 5
ระบบ
1. ระบบสารสนเทศสำหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน
2. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้ชำนาญการ
3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์
5. ระบบประมวลผลรายการ
2. เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
เราสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารเทศได้อย่างไรบ้าง
จงยกตัวอย่างพร้อมอธิบาย
หมายถึง
ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ
ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อกำหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ
และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำงาน
การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร (สุชาดา กีระนันทน์,
2541
3. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีกี่ส่วน
อะไรบ้าง
.1.
ฮาร์ดแวร์(เครื่องจักรอุปกรณ์)
2. ซอฟต์แวร์
3. ข้อมูล
4. บุคลากร
2. ซอฟต์แวร์
3. ข้อมูล
4. บุคลากร
5.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch
processing)
จะเป็นวิธีการประมวลผลที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาไว้ จนกว่าจะมีข้อมูลที่ประมวลผลจำนวนหนึ่ง จึงทำการประมวลผลพร้อมกัน หรืออาจรอจนกว่าครบตามเวลาที่กำหนด จึงทำการประมวลผลไม่ว่าจะมีจำนวนเท่าใดก็ตาม เช่น เวลาเข้าออกของพนักงานอาจจะพิมพ์เก็บไว้ทุกสัปดาห์ และนำมาประมวลผลเดือนละครั้งเท่านั้น
การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
หมายถึง การประมวลผลที่ทำโดยอุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของตัวเครื่อง (เช่นเครื่องอ่านบัตร) หรืออุปกรณ์นั้นจะอยู่ห่างออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับเครื่องได้ เช่น การประมวลผลโดยมีการสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัล (terminal) และหน่วยประมวลผลกลางโดยทางโทรศัพท์ หรือวิธีอื่น ๆ การทำเช่นนี้เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูล ซึ่งจะเข้าสู่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา เช่น ที่ใช้ในการส่งยานอากาศไปนอกโลก การถอนเงินในระบบเงินด่วน เป็นต้น ดู batch processing เปรียบเทียบ
5. ประโยชน์ของ Geographic
Information System มีอะไรบ้าง
การใช้ประโยชน์ของ
GIS (GIS application)
GIS
ได้นำเอาเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้รวมกันเพื่อการจัดการ วิเคราะห์
และนำเสนอข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ สาขาวิชาการที่เกี่ยวข้องโดยตรงได้แก่
การสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-Aid
Design) การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database Management)
และการทำแผนที่โดยใช้คอมพิวเตอร์ (Computer Cartography) ดังภาพ นอก จากนี้
การนำเอา GIS ไปใช้ในสาขางานต่าง ๆ อาจมีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน
6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างระบบสารสนเทศระดับต่างๆ
มาอย่างน้อยระดับละ 1ตัวอย่าง
1. ระดับสูง
1.1. ระดับผู้บริหาร
2. ระดับบุคคล
2.1 พนักงาน
3. ระดับองค์กร
3.1 ฝ่ายเเผนก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น